วันอาทิตย์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2554

labour reration ข้อร้องเรียนจากแรงงาน

ข้อเรียกร้องปี 2552
จังหวัด
ลักษณะสถานประกอบการ
รวม
เอกชน
กิจการตาม ม.23

รัฐวิสาหกิจ
แห่ง
ครั้ง
ลูกจ้างที่เกี่ยวข้อง
แห่ง
ครั้ง
ลูกจ้างที่เกี่ยวข้อง
แห่ง
ครั้ง
ลูกจ้างที่เกี่ยวข้อง
แห่ง
ครั้ง
ลูกจ้างที่เกี่ยวข้อง
กทม.
54
54
86,976
47
47
69,797
3
3
935
4
4
16,244
ปริมณฑล












นนทบุรี












ปทุมธานี
29
33
27,032
29
33
27,032






สมุทรปราการ
150
186
91,283
150
186
91,283






สมุทรสาคร
2
2
729
2
2
  729






ภาคกลาง












กาญจนบุรี












นครนายก












ฉะเชิงเทรา
19
23
14,518
19
23
14,518






ชลบุรี
57
60
40,390
56
59
39,934
1
1
456



ชัยนาท
1
1
373
1
1
373






ปราจีนบุรี
11
14
6,820
11
14
6,820






ลพบุรี












อ่างทอง
1
1
280
1
1
280







จังหวัด
ลักษณะสถานประกอบการ
รวม
เอกชน
กิจการตาม ม.23

รัฐวิสาหกิจ
แห่ง
ครั้ง
ลูกจ้างที่เกี่ยวข้อง
แห่ง
ครั้ง
ลูกจ้างที่เกี่ยวข้อง
แห่ง
ครั้ง
ลูกจ้างที่เกี่ยวข้อง
แห่ง
ครั้ง
ลูกจ้างที่เกี่ยวข้อง
พระนครศรีอยุธยา
39
40
45,182
39
40
45,182






เพชรบุรี












ประจวบคีรีขันธ์












สิงห์บุรี












สระบุรี
8
10
2,841
8
10
2,841






ระยอง
45
50
37,647
45
50
37,647






ตราด












ราชบุรี
1
1
400
1
1
400






ภาคเหนือ












กำแพงเพชร












นครสวรรค์












ตาก












เชียงใหม่












ลำพูน
1
1
47
1
1
47







จังหวัด
ลักษณะสถานประกอบการ
รวม
เอกชน
กิจการตาม ม.23

รัฐวิสาหกิจ
แห่ง
ครั้ง
ลูกจ้างที่เกี่ยวข้อง
แห่ง
ครั้ง
ลูกจ้างที่เกี่ยวข้อง
แห่ง
ครั้ง
ลูกจ้างที่เกี่ยวข้อง
แห่ง
ครั้ง
ลูกจ้างที่เกี่ยวข้อง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ











นครราชสีมา












บุรีรัมย์
1
1
666
1
1
666






ขอนแก่น
1
1
1,071
1
1
1,071






ชัยภูมิ












หนองบัวลำภู












ภาคใต้












ชุมพร












ระนอง












ปัตตานี












สงขลา
3
3
855
3
3
855






ภูเก็ต
8
8
2,028
8
8
2,028






รวม
434
493
361,077
426
485
343,442
4
4
1,391




ที่มา http://relation.labour.go.th/


กิจการตาม มาตรา 23 : การประกอบธุรกิจขายตรง
มาตรา 23 สัญญาระหว่างผู้จำหน่ายอิสระกับผู้ประกอบธุรกิจขายตรง ให้ทำเป็นหนังสือซึ่งอย่างน้อยต้องมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
(1) เงื่อนไขที่ชัดเจนเกี่ยวกับการจ่ายผลตอบแทนตามแผนการจ่ายผลตอบแทน
(2) เงื่อนไขที่ชัดเจนเกี่ยวกับค่าธรรมเนียมการสมัคร ค่าฝึกอบรม ค่าวัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมการขาย หรือค่าธรรมเนียมอื่น ๆ
(3) เงื่อนไขที่ชัดเจนเกี่ยวกับการที่ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงจะรับซื้อสินค้า วัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมการขาย ชุดคู่มือ หรืออุปกรณ์ส่งเสริมธุรกิจคืนจากผู้จำหน่ายอิสระ ตลอดจนกำหนดระยะเวลาที่ผู้จำหน่ายอิสระสามารถใช้สิทธิดังกล่าว
ความในวรรคหนึ่ง (1) และ (2) ให้นำมาใช้บังคับแก่ตัวแทนขายตรงที่ไม่ใช่ลูกจ้างด้วย
การกระทำอันไม่เป็นธรรม
นายจ้างได้เลิกจ้างหรือกระทำการใด ๆ อันอาจเป็นผลให้ลูกจ้าง  ผู้แทนลูกจ้าง  กรรมการสหภาพแรงงานหรือกรรมการสหพันธ์แรงงานไม่สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปได้  เพราะเหตุที่ลูกจ้างหรือสหภาพแรงงานได้นัดชุมนุม  ทำคำร้อง  ยื่นข้อเรียกร้อง  เจรจา  หรือดำเนินการฟ้องร้อง  หรือเป็นพยาน หรือให้หลักฐานต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน  หรือนายทะเบียนพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน  ผู้พิพาทแรงงาน  หรือกรรมการแรงงานสัมพันธ์  ตามพระราชบัญญัตินี้หรือ ต่อศาลแรงงาน  หรือเพราะเหตุที่ลูกจ้างหรือสหภาพแรงงานกำลังจะทำการดังกล่าว
นายจ้างได้เลิกจ้างหรือกระทำการใด ๆ อันอาจเป็นผลให้ลูกจ้างไม่สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปได้เพราะเหตุที่ลูกจ้างนั้น เป็นสมาชิกของสหภาพแรงงาน นายจ้างได้ขัดขวางในการที่ลูกจ้างนั้นเป็นสมาชิกหรือให้ลูกจ้างออกจากการเป็นสมาชิกของสหภาพแรงงาน  หรือให้หรือตกลงจะให้เงินหรือทรัพย์สินแก่ลูกจ้างหรือเจ้าหน้าที่ของสหภาพแรงงาน  เพื่อมิให้สมัครหรือรับสมัครลูกจ้างเป็นสมาชิก  หรือเพื่อให้ออกจากการเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน

นายจ้างได้ขัดขวางการดำเนินการของสหภาพแรงงานหรือสหพันธ์แรงงานหรือขัดขวางการใช้สิทธิของลูกจ้างในการเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน หรือ
นายจ้างเข้าแทรกแซง  ในการดำเนินการของสหภาพแรงงานหรือสหพันธ์แรงงานโดยไม่มีอำนาจโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้ใดบังคับหรือขู่เข็ญ  โดยทางตรงหรือทางอ้อมให้ลูกจ้างต้องเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานหรือต้องออกจากการเป็นสหภาพแรงงานหรือ
ผู้ใดกระทำการใด ๆ อันอาจเป็นผลให้นายจ้างฝ่าฝืนมาตรา 121
นายจ้างได้เลิกจ้างลูกจ้าง  ผู้แทนลูกจ้าง  กรรมการ  อนุกรรมการ  หรือสมาชิกสหภาพแรงงานหรือกรรมการ  อนุกรรมการ  สหพันธ์แรงงาน  ซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้อง  เว้นแต่บุคคลดังกล่าวได้กระทำการดังต่อไปนี้
Ø ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง
Ø จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย
Ø ฝ่าฝืนข้อบังคับ  ระเบียบ  หรือคำสั่งอันชอบธรรมด้วยกฎหมายของนายจ้างโดยนายจ้างว่ากล่าวและตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว  เว้นแต่กรณีที่ร้ายแรงนายจ้างไม่จำต้องว่ากล่าวตักเตือนทั้งนี้  ข้อบังคับ  ระเบียบ  คำสั่งนั้นต้องมิได้ออกเพื่อขัดขวางมิให้บุคคลดังกล่าว  ดำเนินการเกี่ยวกับข้อเรียกร้องหรือ
Ø ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลาสามวัน  ทำงานติดต่อกันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
Ø กระทำการใด ๆ เป็นการยุยง  สนับสนุน  หรือชักชวนให้มีการฝ่าฝืนข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างหรือคำชี้ขาด
คุณสมบัติของผู้ร้อง
ผู้ร้องต้องเป็นผู้เสียหายโดยตรงได้แก่  ลูกจ้าง  สหภาพแรงงาน  สหพันธ์แรงงาน
ระยะเวลาการใช้สิทธิ
ผู้เสียหายต้องยื่นคำร้องต่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ภายใน 60 วัน นับแต่วันที่มีการฝ่าฝืน เช่น วันที่ถูกนายจ้างเลิกจ้าง  วันที่ถูกนายจ้างโยกย้ายหน้าที่ ฯลฯ
สถานที่ยื่นคำร้อง
ส่วนกลาง  ผู้เสียหายสามารถยื่นคำร้องได้ที่กลุ่มงานคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์  สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน  กระทรวงแรงงาน  ปัจจุบัน

ตั้งอยู่ที่ ชั้น 3 อาคาร กระทรวงแรงงาน  ถนนมิตรไมตรี   ดินแดง  กรุงเทพฯ 10400  โทรศัพท์ 0 – 2643 – 4477
ส่วนภูมิภาค  ผู้เสียหายสามารถยื่นคำร้องได้ที่สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดหรือ ที่กลุ่มงานคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์  กระทรวงแรงงาน
การดำเนินการของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์
Ø คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์  จะส่งคำร้องกล่าวหาให้นายจ้างผู้ถูกกล่าวหาทราบและให้ผู้ถูกกล่าวหาส่งคำชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาเป็นหนังสือให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ภายใน 8 วัน นับแต่วันที่รับทราบคำกล่าวหา
Ø สำนักงานคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์  ซึ่งทำหน้าที่ฝ่ายเลขานุการจะบรรจุเรื่องเข้าระเบียบวาระการประชุมคณะกรรมการ  และกำหนดนัดให้คู่กรณีทั้งสองฝ่ายเข้าพบเพื่อชี้แจงและตอบข้อซักถามต่อคณะกรรมการ
Ø คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พิจารณาแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ  เพื่อสอบหาข้อเท็จจริงในรายละเอียดและนำเสนอความเห็นประกอบการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาด  และออกคำสั่งของคณะกรรมการฯ ต่อไป
Ø คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์จะต้องพิจารณาวินิจฉัย  และออกคำสั่งภายใน 90 วัน นับแต่วันรับคำร้องกล่าวหา  และแจ้งให้คู่กรณีทั้งสองฝ่ายทราบและปฏิบัติ
แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์
กรณีที่ปฏิบัติตามคำสั่ง
หากผู้ถูกกล่าวหาได้ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการฯ เช่น จ่ายค่าเสียหาย หรือรับผู้กล่าวหากลับเข้าทำงาน เป็นต้น  การดำเนินคดีอาญาให้เป็นอันระงับไป
กรณีที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง
หากคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่เห็นด้วยกับคำสั่งคณะกรรมการฯ และใช้สิทธิอุทธรณ์ขอเพิกถอนคำสั่งต่อศาลแรงงาน  ตามมาตรา 8 (4) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522

หากผู้ถูกกล่าวหาเพิกเฉยไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์แต่ประการใด  ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำการฝ่าฝืนอันต้องด้วยบทบัญญัติ  ตามมาตรา 127 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์  พ.ศ. 2518 เป็นความผิดทางอาญาที่มีโทษตามมาตรา 158 และมาตรา 159 แห่งพระราชบัญญัติฯ ฉบับเดียวกัน คือ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น